กฎหมายหนี้ : หลักทั่วไป ดาราพร ถิระวัฒน์
ผู้แต่ง : ศาสตราจารย์ ดร.ดาราพร ถิระวัฒน์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 4 / 2566
จํานวนหน้า: 370 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม
รูปแบบ : ปกอ่อน 9786164041141 คํานําเบื้องต้น การศึกษาย่อมมุ่งหมายถึงการแสวงหาสภาพความเป็นจริงของสิ่งที่ศึกษา จิตติ ติงศภัทิย์ (หลักวิชาชีพนักกฎหมาย, ๒๕๔๒ น.๑๗) ตํารา
กฎหมายหนี้ :หลักทั่วไป เล่มนี้เป็นผลมาจากการศึกษาหาความรู้ที่ผู้เขียนได้ ศึกษาจากครูที่มีชีวิต และจากครู หนังสือ โดยเฉพาะครูหนังสือ (ภาษาไทย ภาษาฝรั่งเศสและ ภาษาอังกฤษ) ที่ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องหลักเหตุผลของกฎหมายหนี้ ที่ผู้เขียนได้ศึกษา รณา ตั้งคําถามที่น่าสงสัยและหาคําตอบอันชัดแจ้งจากเหตุผลของด้วกฎหมา กฎหมายหนี้เป็นหลักกฎหมายที่เป็น นิติศาสตร์โดยแท้ เนื่องจากเป็นหลักของเหตุผลความ ถูกต้องที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ผู้เขียนมีโอกาสได้ศึกษาตําราดําอธิบายหลักกฎหมายหนี้หลายเล่ม ทั้งที่เป็นตําราของ นักกฎหมายไทยและนักกฎหมายต่างประเทศ พบว่าความรู้ของหลักกฎหมายหนี้มีการเขียน อธิบายเชิงหลักข้อความคิด (concep ) ต่างๆ ตัวอย่าง ตํารากฎหมายชุดหนึ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจน ถึงการศึกษาอย่างต่อเนื่องของกฎหมายลักษณะหนี้ หลักทั่วไปคือ ตําราชุด
กฎหมายแพ่ง : หนี้- (Traite de Droit
Civil : Les Obigations) ที่อยู่ภายใต้การดูแลของ Jacques GHESTIN, Professeur emerite de I'Universite Paris I (Pantheon - Sorbonne) ที่มีหลายเล่มหลายตอน แก่ La formation du contrat, 3 ed.1993 ; Les effets du contrat, 3 ed.2001 ; a la responsibilite, 2 ed 1998 ; Les conditions de la responsibilite, 1998 ; Le regime des creances et des dettes, 2005 ซึ่งเป็นหนังสือคําอธิบายในทางประวัติศาสตร์ ทฤษฎีกฎหมาย ความคิดของนักกฎหมาย ตลอดจนตัวอย่างดําวินิจฉัยของศาล โดยเฉพาะเล่มสุดท้ายที่ทําให้ ผู้เขียนตระหนักว่ายังมีความรู้อีกมากที่ต้องศึกษาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นหนังสือที่กลุ่ม กกฎหมายได้ระคมความคิดและจัดทําเป็นคําอธิบายเชิงหลักการของสิทธิทางหนี้แล วามรับผิด ที่มีการศึกษาเปรียบเทียบหลักการของสิทธิทางหนี้ได้อย่างลึกซึ้งเป็นอันม เข้าใจหลักการและเหตุผลของกฎหมายลักษณะหนี้ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้เขียนจึงได้พยายาม บรวมองค์ความรู้ของหลักกฎหมายหนี้และถ่ายทอดออกมาในรูปของตําราเพื่ หลักการทั่วไปและการปรับใช้หลักกฎหมายของตาลตามตัวอย่างดําพิพากษาฎีกาที่ได้ตัดสรร มาประกอบการอธิบายถึงหลักกฎหมายในมาตราต่างๆ คุณค่าทางวิชาการใด ๆ ของหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอมอบเป็นอาจาริยบูชาแต่ครู ๓ ท่านคือครูจิตติ งภัทิย์ ครูผู้กําหนดให้ผู้เขียนสอนและศึกษาวิชากฎหมายนิติกรรมสัญญา และหนี้ ครูปรีตี เกษมทรัพย์ ครูผู้วางแผนการศึกษาให้ผู้เขียนไปศึกษากฎหมายที่ประเทศฝรั่งเศส อันเป็นแหล่งวิชาการทางกฎหมายแพ่ง ครูโสภณ รัตนากร ครูผู้มอบความไว้วางใจให้ผู้เขียน เป็นผู้ช่วยสอนวิชากฎหมายหนี้ที่สํานักอบรมเนติบัณฑิตยสภา ส่วนคุณประโยชน์อันพึงมีพึงได้ของหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอมอบแด่ครอบครัว สามี และลูก ๆ ทั้งสามคนผู้เป็นกําลังใจให้ผู้เขียนตลอดมา ความบกพร่องใด ๆ ของตําราเล่มนี้ ผู้เขียนขอน้อมรับไว้แต่ผู้เดียวและขอขอบคุณ ล่วงหน้าสําหรับคําแนะนํา จากผู้อ่านทุกท่าน ศาสตราจารย์ ดร.ดาราพร ถิระวัฒน์ สารบาญ บทที่ ๑ บทนํา. ๑ ความหมายของ หนี้ ๒ ประเภทของหนี้ ๓ ลักษณะความผูกพันของลูกหนี้ ๔ ลักษณะของสิทธิทางหนี้ ๕ ความแตกต่างระหว่างสิทธิทางหนี้และทรัพยสิทธิ ๖
รากฐานความสัมพันธ์ทางหนี้ : การใช้สิทธิโดยสุจริต บทที่ ๒ วัตถุแห่งหนี้. ด กรณีทร